泰语的声调
วรรณยุกต์
เสียงวรรณยุกต์ ในภาษาไทย (เสียงดนตรีหรือเสียงผัน) จำแนกออกได้เป็น 5 เสียง ได้แก่
เสียงวรรณยุกต์ |
ตัวอย่าง |
หน่วยเสียง |
สัทอักษร |
---|---|---|---|
เสียงสามัญ (ระดับเสียงกลาง) |
นา |
/nāː/ |
[naː˧] |
เสียงเอก (ระดับเสียงต่ำ) |
หน่า |
/nàː/ |
[naː˩] |
เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่ำ) |
น่า/หน้า |
/nâː/ |
[naː˥˩] |
เสียงตรี (ระดับเสียงกลาง-สูง หรือ สูงอย่างเดียว) |
น้า |
/náː/ |
[naː˧˥] หรือ [naː˥] |
เสียงจัตวา (ระดับเสียงต่ำ-กึ่งสูง) |
หนา |
/nǎː/ |
[naː˩˩˦] หรือ [naː˩˦] |
ส่วน รูปวรรณยุกต์ มี 4 รูป ได้แก่
ไม้เอก ( -่ )
ไม้โท ( -้ )
ไม้ตรี ( -๊ )
ไม้จัตวา ( -๋ )
ทั้งนี้คำที่มีรูปวรรณยุกต์เดียวกัน ไม่จำเป็นต้องมีระดับเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน ขึ้นอยู่กับระดับเสียงของอักษรนำด้วย เช่น ข้า (ไม้โท) ออกเสียงโทเหมือน ค่า(ไม้เอก) เป็นต้น
编辑推荐:
温馨提示:因考试政策、内容不断变化与调整,长理培训网站提供的以上信息仅供参考,如有异议,请考生以权威部门公布的内容为准! (责任编辑:长理培训)
点击加载更多评论>>